วันสมาธิโลก วันแห่งเกียรติยศของวงการพระพุทธศาสนา
นแห่งการเชิดชูเกียรติพระภิกษุ-สามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยคถือเป็นอีกหนึ่งวันประวัติศาสตร์ของวงการพระพุทธศาสนา เมื่อพระมหาเถรานุเถระเจ้าคณะพระสังฆาธิการ และพุทธบริษัททั้งหลาย ร่วมเป็นประจักษ์พยานในพิธีมุทิตาสักการะพระภิกษุ-สามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยคระดับโลก ซึ่งจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ ๒๙ ณ วัดพระธรรมกาย
นักสร้างบารมีกับพันธกิจยอยกพระพุทธศาสนา
ยอดนักสร้างบามีผู้มีหัวใจโชนนิรันดร์ทุกท่าน เมื่อเทียบเวลาในมนุษยโลกกับดุสิตบุรีช่างเป็นช่วงเวลาที่สั้นเหลือเกิน เวลา ๑ ปีของเรานั้น เท่ากับ ๖ ชั่วโมงในดุสิตบุรี เราสละทิพยสมบัติมาไม่กี่ชั่วโมง เพื่อเอาบารมีกลับไปให้ได้มากที่สุด
ประวัติโดยสังเขป สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙)
ชาติภูมิสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำองค์ปัจจุบัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๓)
ผู้เขียนและคณะทีมงานของสถาบันฯมีความปลื้มปีติที่ได้แสดงความกตัญญูตอบแทนและประกาศเกียรติคุณของพระเดชพระคุณ-พระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย) ที่เป็นองค์สถาปนาสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยซึ่งท่านมีมโนปณิธานมาเป็นเวลากว่า ๓๕ ปีว่าน่าจะมีใครสักคนหรือหลาย ๆ คนในองค์กรทำการค้นคว้าหาหลักฐานคำสอนดั้งเดิมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรื่องธรรมกายเพื่อทำความจริงให้ปรากฏ
อานิสงส์บูชาเจดีย์ด้วยดอกบัว ๘ กำ
การสะสมทรัพย์เป็นเพียงปัจจัยเกื้อหนุนให้เรามีความสุขในภพชาตินี้ แต่การสั่งสมบุญจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เรามีความสุขไปทุกภพทุกชาติ ยิ่งถ้าหากทำบุญถูกเนื้อนาบุญ บุญนั้นก็เป็นบุญใหญ่ ได้ผลเกินควรเกินคาด
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
บุญบาปที่ปลายนิ้ว
ผลกระทบจากการกด like กด share ที่มีเนื้อหาไม่ดี บาปหรือไม้? ควรปฏิบัติตัวอย่างไร? และมาเรียนรู้ พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก